อานิสงส์บูชาด้วยดอกบัว
ผู้ที่เกิดมาแล้วจำต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมอันใดไว้ คือเป็นบุญ และเป็นบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไปสู่ปรโลก อนึ่ง บุญและบาปนั้น ย่อมเป็นของติดตามเขาไปประดุจเงาติดตามตัวไป ฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรม สะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก เพราะว่าบุญทั้งหลาย ย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
อานิสงส์ถวายเครื่องอัฏฐบริขาร
มหาสมุทรไม่อิ่มด้วยน้ำที่ไหลมาจากทุกทิศทุกทาง ไฟไม่อิ่มด้วยเชื้อ พระราชาไม่ทรงอิ่มด้วยราชสมบัติ คนพาลไม่อิ่มด้วยบาป หญิงไม่อิ่มด้วยของ ๓ อย่าง คือ เมถุนธรรม เครื่องประดับ และการคลอดบุตร พราหมณ์ไม่อิ่มด้วยมนต์ ผู้ได้ฌานไม่อิ่มด้วยวิหารสมาบัติ คือการเข้าฌาน พระเสขะไม่อิ่มด้วยการสละออกในการให้ทาน
ทึ่ง! หนึ่งเดียวในโลก ประเพณีใส่บาตรเทียน ชาวเวียงสา จ.น่าน
หนึ่งกิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเข้าพรรษา คือ การถวายเทียนพรรษา หรือบางแห่งมีการประยุกต์เป็นหลอดไฟฟ้า แต่โดยมากชาวพุทธจะนำเทียนไปถวายพระพร้อมกับปัจจัยอื่นๆ
อานิสงส์การเป็นศรีภรรยาที่ดี
แม่น้ำเป็นที่อยู่แห่งฝูงปลา ย่อมหลั่งไหลไปสู่สาครท้องทะเลหลวง ซึ่งจะประมาณมิได้ มีสิ่งที่น่ากลัวอาศัยอยู่มาก และเป็นที่อยู่แห่งรัตนะหลายชนิด ฉันใด ห้วงบุญย่อมหลั่งไหลไปสู่นรชนผู้เป็นบัณฑิต ให้ข้าว น้ำ เครื่องนุ่งห่ม ที่นอน ที่นั่ง เครื่องปูลาด เหมือนห้วงน้ำหลั่งไหลเข้าไปสู่สาคร ฉันนั้น
อานิสงส์ถวายทานแด่พระสงฆ์
สมัยเป็นมนุษย์ ดิฉันเป็นสตรีผู้ยินดีในการให้ทาน ไม่เคยเบื่อหน่ายในการสั่งสมบุญเลย เพราะเหตุที่ได้ถวายทานในภิกษุสงฆ์ผู้เป็นเนื้อนาบุญอันเลิศนี้ จึงทำให้ได้ทิพยวิมานอันน่าปลื้มใจ
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑๐)
การได้อัตภาพเป็นมนุษย์ นับเป็นความโชคดีที่สุดในโลก... เพราะจะทำให้มีโอกาสได้สั่งสมความดีสร้างบารมีให้ยิ่งๆขึ้นไป
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๙)
ปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับการสั่งสมบุญน้อยกว่าการสั่งสมทรัพย์ เพราะเราอยู่ในยุคสมัยของโลกาภิวัฒน์ที่มนุษย์วิ่งตามกระแสวัตถุ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๑)
ช่วงชีวิตของคนเรานั้นสั้นนัก การยอมเสียเวลาเพื่อลงทุนทำอะไรสักอย่างหนึ่ง จะต้องใคร่ครวญให้ดี เพื่อให้คุ้มค่ากับเวลาและเงินตราที่เสียไป
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๒)
ผู้ประกอบด้วยความอดทนย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ศาสดาเอกของโลก(๓)
นักปราชญ์บัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นว่า การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ความแก่ ความเจ็บและความตายก็เป็นทุกข์ ท่านจึงแสวงหาหนทางพ้นทุกข์