สัมมา อะระหัง" คือ เนื้อมนต์วิเศษโดยแท้
บางคนจากที่เคยพบอุปสรรคทำอะไรติด ๆ ขัด ๆก็ราบรื่นขึ้น จะทำมาค้าขายก็ร่ำรวยขึ้นซึ่งเกิดจากอานุภาพบารมีธรรมที่หลวงปู่ท่านปกป้องคุ้มครองและกลั่นแก้ให้ประกอบกับอานุภาพของเนื้อมนต์ คือ การภาวนา ‘สัมมา อะระหัง’ ควบคู่กันไปด้วยนั่นเอง
ความแตกต่างของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์
พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ทรงมีความแตกต่างกันบางประการ เช่น พระชนมายุ พระสรีระ เวลาบำเพ็ญทุกกิริยาในพระชาติสุดท้าย ความต่างแห่งพุทธรังสี ความต่างแห่งตระกูล เป็นต้น
สัมมา อะระหัง ความหมายของคำว่า “สัมมา อะระหัง”
พระโบราณาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "สัมมา อะระหัง เป้นพุทธานุสสติ มีประโยชน์ในการเจริญภาวนากัมมัฏฐานมาก"
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ยอดกัลยาณมิตร)
ผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะแล้ว เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือ ทุกข์ และตัณหาอันเป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันไปจากข้าศึก ให้ถึงพระนิพพานเป็นที่เข้าไประงับทุกข์ นี้แลเป็นสรณะอันเกษม นี้เป็นสรณะอันอุดม บุคคลอาศัยสิ่งนี้แล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
พระบรมธาตุ
พระบรมธาตุ บทบาทและความสำคัญของพระบรมธาตุ ตำนานพระบรมธาตุ เรื่องพระบรมธาตุ เมื่อสิ้นศาสนา พระธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหมดจะเสด็จไปรวมกันที่พระมหาเจดีย์เมืองอนุราธปุระในลังกา แล้วจึงเสด็จไปรวมกันขึ้นเป็นองค์ที่โพธิบัลลังก์ในอินเดีย แสดงธรรมแก่เทวดาทั้งหลายเป็นครั้งสุดท้าย อันตรธาน
พระอานนท์พุทธอนุชา
สหาย เป็นมิตรของคนผู้มีความต้องการเกิดขึ้นบ่อยๆ บุญทั้งหลายที่ตนทำไว้ดีแล้ว จะเป็นมิตรในสัมปรายภพ
การหว่านไถอย่างอริยะ
ผู้ใดรู้ขันธ์ที่เคยอาศัยในกาลก่อน แลเห็นสวรรค์ และอบาย บรรลุพระอรหัตอันเป็นที่สิ้นชาติ อยู่จบพรหมจรรย์แล้วเพราะรู้ยิ่ง เป็นมุนี บุคคลพึงให้ไทยธรรมในผู้นี้ ทานที่ให้แล้วในท่านผู้นี้มีผลมาก ทักษิณาย่อมสำเร็จแก่บุคคลผู้บูชาอย่างนี้
ทำบุญอย่างไรได้ผลมาก
บุคคลผู้มีจิตผ่องใส เป็นผู้มีศรัทธา ให้ทานด้วยโภคทรัพย์ทั้งหลาย ที่ได้มาโดยชอบธรรม แม้จะอยู่ครองเรือน ย่อมเป็นผู้ยึดถือชัยชนะไว้ได้ในโลกทั้งสอง คือ ประโยชน์เกื้อกูลในปัจจุบัน และความสุขในสัมปรายภพ การบริจาคดังกล่าวมานั้น ย่อมเป็นเหตุให้บุญกุศลพอกพูนขึ้น
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย