หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
วีณาถูณชาดก ชาดกว่าด้วยเรื่องรักคนผิด
ณ บ้านเศรษฐีแห่งหนึ่งในกรุงสาวัตถี ผู้เป็นธิดาได้เจริญวัยเข้าสู่วัยสาว มีรูปโฉมงดงามยิ่งกว่าใครๆ ในหมู่บ้าน ล้วนเป็นที่หมายปองของชายที่พบเห็น มีชายมากมายมาสู่ขอธิดาผู้นี้จากเศรษฐี แต่ท่านก็ไม่ได้ยกให้ใคร
ทางกลับสู่ดุสิตบุรีวงบุญพิเศษ
บุคคลปรารถนาเป็นผู้มีอายุยืน ไม่มีโรค มีผิวพรรณผ่องใส มีสวรรค์เป็นที่ไป อยากเกิดในตระกูลสูง และมีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป พึงบำเพ็ญความไม่ประมาท บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในบุญทุกอย่าง (อัปปมาทสูตร)
มูลนิธิธรรมกายมอบผ้าไตรจีวรแด่เจ้าคณะอำเภอเมืองเสียมเรียบ
มูลนิธิธรรมกาย โดยพระเทพญาณมหามุนี มอบผ้าไตรจีวรแด่เจ้าคณะอำเภอเมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
พิธีถวายโล่ประกาศเกียรติคุณแด่หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ในวันคุ้มครองโลก
97 รางวัล กว่า 40 ประเทศทั่วโลก โล่ประกาศเกียรติคุณ เหล่านี้เป็นพยานที่ประจักษ์สายตาชาวโลก ว่า หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายทำทุกกิจกรรม เพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนา เพื่อสร้างคนดีให้เกิดในสังคม สร้างสันติภาพให้เกิดไปทั่วโลก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
อานิสงส์การบูชาด้วยดอกบัว
ท่านสาธุชนยอดนักสร้างบารมีผู้มีบุญทั้งหลาย เราเกิดมาภพชาติหนึ่งได้มาทำความดีในมนุษยโลก มาพบพระพุทธศาสนา และตัวเราก็เป็นสัมมาทิฐิบุคคล นับว่าเป็นสิ่งที่ได้มายากแสนยาก เพราะนี่คือคุณสมบัติของผู้มีบุญที่จะใช้โอกาสที่ดีเช่นนี้สร้างบารมีตักตวงบุญกุศลได้เต็มที่